top of page

端午节
วันไหว้บ๊ะจ่าง

在古代,端与初同义,五与午相通。按地支顺序推算,五月为午月,故初五作端午。唐玄宗的生日是八月初五日,宰相宋建议要避讳,就把“端五”改为“端午”,此后,“端五”就改称为“端午”了。 端午节始于春秋战国之际,已有2000多年的历史。关于其由来,说法不一,其中以纪念屈原之说影响最广最深最大。正是由于屈原的缘故,端午节也因此被称为“诗人节”。

传说屈原死后,楚国百姓哀痛异常,纷纷涌到汨罗江边去凭吊屈原。渔夫们划起船只,在江上来回打捞他的真身。有位渔夫拿出为屈原准备的饭团、鸡蛋等食物,“扑通、扑通”地丢进江里,说是让鱼龙虾蟹吃饱了,就不会去咬屈大夫的身体了。人们见后纷纷仿效。一位老医师则拿来一坛雄黄酒倒进江里,说是要药晕蛟龙水兽,以免伤害屈大夫。后来为怕饭团为蛟龙所食,人们想出用楝树叶包饭,外缠彩丝,发展成粽子。

ดาวน์โหลด.jpg

ในอดีต 端 และ 初 มีความหมายเหมือนกัน 五 และ 午 ก็เหมือนกัน จึงทำให้เดือนพฤษภาคมเป็นช่วงเทศกาลบ๊ะจ่าง วันเกิดของ ถัง เสวี่ยนจง ตรงกับวันที่ 5 ของเดือน 8 ตามปฏิทินจันทรคติ ดังนั้นจึงเปลี่ยน "端五" เป็น "端午" หลังจากนั้น "端五" จึงได้เปลี่ยนชื่อเป็น "端午" เทศกาลบ๊ะจ่างเริ่มขึ้นในช่วงยุควสันตสารท (ชุนชิว) มีประวัติศาสตร์ยาวนานกว่า 2,000 ปี เกี่ยวกับที่มาของวันไหว้บ๊ะจ่างมีความคิดเห็นที่แตกต่างกัน ซึ่งทฤษฎีการรำลึกถึง Qu Yuan มีอิทธิพลอย่างกว้างขวางและได้รับการยอมรับสูงสุดเป็นเพราะ วันไหว้บ๊ะจ่างเรียกอีกอย่างว่า "เทศกาลแห่งกวี"

        ในตำนานเล่ากันว่าหลังจากที่ Qu Yuan เสียชีวิต ผู้คนในรัฐซูต่างเศร้าใจและแห่กันไปที่แม่น้ำมี่หลัวเพื่อไว้อาลัยให้กับ Qu Yuan ชาวประมงพายเรือเพื่อกอบกู้ร่างที่ของเขา ชาวประมงหยิบข้าวปั้น ไข่ และอาหารอื่นๆ ที่เตรียมไว้โยนลงไปในแม่น้ำโดยหวังว่าพวกปลาจะกินมันจนอิ่มแล้วพวกมันจะไม่กินร่างของ Qu Yuan อีก เมื่อคนเห็นก็ทำตาม แพทย์ผู้เฒ่าท่านหนึ่งนำเหล้าขวดหนึ่งเทลงในแม่น้ำโดยบอกว่ามันเป็นการทำให้มังกรน้ำมึนงง เพื่อที่ตะไม่สามารถทำร้ายได้ ต่อมาด้วยความกลัวว่าจะถูกมังกรกิน ผู้คนจึงเกิดความคิดที่จะห่อข้าวด้วยใบเลี่ยน (chinaberry) แล้วห่อด้วยผ้าสีหลังจากนั้นก็พัฒนากลายเป็นขนมบ๊ะจ่าง

习俗 :

 

挂艾叶菖蒲榕枝:在端午节,家家都以菖蒲、艾叶、榴花、蒜头、龙船花、榕枝,制成人形称为艾人。将艾叶悬于堂中,剪为虎形或剪彩为小虎,贴以艾叶,妇人争相佩戴,以僻邪驱瘴。用菖蒲作剑,插于门楣,有驱魔祛鬼之神效。

吃粽子:荆楚之人,在五月五日煮糯米饭或蒸粽糕投入江中,以祭祀屈原,唯恐鱼吃掉,故用竹筒盛装糯米饭掷下,以后渐用粽叶包米代替竹筒。

扒龙舟:是端午节的一项重要活动,是多人集体划桨竞赛,在我国南方沿海一带十分流行。传出国外后,深受各国人民的喜爱并形成了国际比赛。

采药:这是最古老的端午节俗之一。民间习俗认为,午日午时阳气旺盛,是草木一年中药性最强的一天,端午遍地皆药。端午期间,我国不少地方都有熏艾叶、挂菖蒲、饮药酒等习俗,中草药在其中发挥了至关重要的作用。

五彩丝线:五色丝系于臂上,或为文身遗俗。端午以五色丝线系臂,曾是很流行的节俗。传到后世,即发展成如长命缕、长命锁、佩香包等许多种漂亮饰物,制作也日趋精致,成为端午节特有的民间艺品。

佩香囊:端午节小孩佩香囊,不但有避邪驱瘟之意,而且有襟头点缀之风。香囊内有朱砂、雄黄、香药,外包以丝布,清香四溢:再以五色丝线弦扣成索,作各种不同形状,结成一串,形形色色,玲珑夺目。

ประเพณี:

การห้อยใบจิงจูฉ่ายบนต้นคงเจี้ยงจี้ (ว่านน้ำชนิดหนึ่ง):ในช่วงเทศกาลไหว้บ๊ะจ่าง ทุกครอบครัวจะใช้ต้นมะยม ใบจิงจูฉ่าย ดอกทับทิม หัวกระเทียม ดอกเข็ม และกิ่งไทรเพื่อสร้างร่างมนุษย์จำลอง แขวนใบจิงจูฉ่ายในห้องโถง ตัดเป็นรูปทรงเสือ หรือตัดริบบิ้นเป็นเสือตัวเล็กๆ ติดกับใบจิงจูฉ่าย และผู้หญิงจะแข่งขันกันเพื่อสวมมันเพื่อขับไล่วิญญาณชั่วร้าย การใช้ต้นคงเจี้ยงจี้ทำเป็นดาบที่สอดเข้าไปในทับเพื่อการไล่ภูตผี

        การกินบ๊ะจ่าง: ในวันที่ 5 พฤษภาคม ชาวเมืองซูจะต้มข้าวเหนียวหรือขนมบ๊ะจ่างแล้วโยนลงในแม่น้ำเพื่อสักการะให้แก่ Qu Yuan แต่เพราะเกรงว่าจะมีปลามากินพวกเขาจึงใช้ไม้ไผ่ที่มีลักษณะเหมือนหลอดห่อไว้ ต่อมาก็ ใช้ใบไม้ห่อให้เป็นรูปทรงสามเหลี่ยมแทนการใช้ไม้ไผ่

การแข่งเรือมังกร: ถือเป็นหัวใจหลักในเทศกาลแข่งเรือมังกร เป็นการแข่งขันพายเรือแบบรวมกลุ่มหลายคน เป็นที่นิยมมากในพื้นที่ชายฝั่งทะเลทางตอนใต้ของประเทศ และหลังจากที่เผยแพร่ไปต่างประเทศแล้ว ผู้คนจากทั่วทุกมุมโลกต่างก็ชื่นชอบและได้มีการจัดแข่งขันระดับนานาชาติขึ้น

        การเก็บสมุนไพร: เป็นหนึ่งในประเพณีที่เก่าแก่ที่สุดของการไหว้บ๊ะจ่าง เป็นประเพณีพื้นบ้านที่เชื่อกันว่าพลังหยางในตอนเที่ยงของวันไหว้บ๊ะจ่างนั้นเป็นวันที่สมุนไพรและต้นไม้มีคุณสมบัติเป็นยาจีนที่ดีที่สุด วันไหว้บ๊ะจ่างจึงก็เต็มไปด้วยยา หลายๆที่ในประเทศมีธรรมเนียมปฏิบัติต่างๆกันเช่น การทำใบจิงจูฉ่ายรมควัน การประดับต้นคงเจี้ยงจี้ การดื่มเหล้าสมุนไพร ฯลฯ ยาสมุนไพรจีนมีบทบาทสำคัญมากในช่วงเทศกาลนี้

        ด้ายไหมห้าสี: ไหมห้าสีจะถูกผูกไว้ที่แขนหรือเป็นรอยสัก วันไหว้บ๊ะจ่างจะใช้เส้นไหมห้าสีผูกแขน ไว้ ซึ่งเคยได้รับความนิยมมาก ได้พัฒนากลายเป็นเครื่องประดับที่สวยงามหลายชนิด เช่น กำไรลูกปัดอายุยืน ตัวล็อคอายุยืน เป็นเครื่องประดับที่สวยงามและการผลิตก็มีความประณีตมากขึ้นเรื่อย ๆ จึงได้กลายเป็นศิลปะพื้นบ้านอันเป็นเอกลักษณ์ของเทศกาลวันไหว้บ๊ะจ่าง

        การพบถุงเครื่องหอม:เด็กๆ จะสวมถุงผ้าในช่วงเทศกาลวันไหว้บ๊ะจ่าง ซึ่งไม่เพียงแต่หมายถึงการขับไล่วิญญาณชั่วร้ายและโรคระบาดเท่านั้น แต่ยังมีสไตล์การตกแต่งที่สวยงามอีกด้วย ในถุงจับรรจุซินน่าบาร์ (เป็นแร่ชนิดหนึ่งที่มีสีแดง) กำมะถัน และยาหอม ห่อด้วยผ้าไหมห้าสีซึ่งมีกลิ่นหอม

© 2023 by Kids Charity. Proudly created with Wix.com

โทร :

0-5521-9652

Fax :

0-5525-8215

ที่อยู่ : 

เลขที่ 226/19 ถ.บรมไตรโลกนารถ อ.เมือง จ.พิษณุโลก 65000

bottom of page